ในช่วงชั้นปีสุดท้ายของการศึกษาคงเป็นช่วงที่ผู้เรียนหลายๆ คนคงกำลังปวดหัวกับการทำทีสิส (Thesis) เพราะยังไม่รู้ว่าจะทำหัวข้อวิจัยเรื่องอะไรดี จนเกิดกังวลว่าจะจบไม่พร้อมเพื่อน 

วันนี้เรามีไกด์ไลน์ง่ายๆ มาฝาก เพื่อเป็นแรงกระตุ้นในการทำทีสิสของคุณให้สำเร็จ

เลือกหัวข้อที่ถนัด ศึกษาเฉพาะสิ่งที่ตนเองสนใจและมีความเข้าใจ

การเลือกหัวข้อนับเป็นก้าวแรกในการทำทีสิส คุณควรจะเลือกหัวข้อที่คุณให้ความสนใจและคิดว่าถนัดที่สุดในสายวิชาที่คุณศึกษา เพื่อให้ง่ายต่อการค้นคว้าและเป็นการสร้างแรงกระตุ้นที่ดีที่สุดในการทำการศึกษาวิจัย

ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_กรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_ความล้มเหลวงานวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ_Present งานวิจัย_ความล้มเหลวการทำวิจัย

หรือ เลือกหัวข้อที่กำลังเป็นประเด็นเป็นกระแสในสังคมปัจจุบัน นำมาพิจารณาว่าประเด็นปัญหาที่เกิดในระหว่างนั้นจะส่งกระทบกับสายงานหรือสายวิชาที่คุณกำลังศึกษาอยู่หรือไม่ เป็นการสร้างความท้าทายในการกระตุ้นแรงผลักดันในการทำทีสิสอย่างหนึ่งเช่นกัน และไม่ต้องกังวลว่าจะทำหัวข้อคล้ายๆ คนอื่นๆ อีกด้วย

“ตั้งเป้าหมาย กำหนดเส้นตายการทำทีสิสอย่างชัดเจน”

คุณควรตั้งเป้าหมาย และวางแผนการทำทีสิสให้ชัดเจน เพื่อสร้างแรงกระตุ้นในการทำทีสิสให้มากขึ้น เช่น คุณอาจจะเลือกทำบทใดบทหนึ่งก่อน โดยเริ่มทำในบทที่คุณคิดว่ายากก่อนความกดดันในการทำงานวิจัย และค่อยกลับไปทำบทที่ง่ายเป็นการผ่อนคลายความกังวล ดังนั้นคุณไม่จำเป็นต้องทำเรียงตามทีละบทตามรูปแบบโครงสร้างของงานวิจัย

กำหนดระยะเวลาทำพร้อมกำหนดเส้นตายในการทำวิจัยแต่ละบทให้ชัดเจน และควรเผื่อเวลาซัก 1-2 วัน ไว้ให้สำหรับอาจารย์ที่ปรึกษาของคุณได้ตรวจงานด้วย โดยวางแผนกำหนดการทำให้เสร็จ หนึ่งบทแล้วนำส่งให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบทีละบท จะช่วยให้คุณแก้ไขปัญหาและปรับแต่งเนื้อหาในงานวิจัยได้สมบูรณ์มากขึ้น เพราะยิ่งเราเจอปัญหาหรือจุดบอดและลงมือแก้ไขได้เร็วเท่าไหร่ ในการศึกษาทำบทต่อๆ ไปก็จะง่ายกว่าเดิม และยังช่วยลดความกดดันในการแก้ไขงานกองโตทีเดียวทั้งเล่มอีกด้วย

กรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_ความล้มเหลวงานวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส) _การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลงานวิจัย_แปลงานวิจัย

“ทบทวนก่อนนำเสนองานกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยก่อนทุกครั้ง”

ทบทวนเนื้อหาของงานวิจัยแต่ละบททุกครั้งก่อนที่จะนำเสนออาจารย์ที่ปรึกษา ไม่ใช่แค่การทบทวนเนื้อหาเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการช่วยตรวจสอบคำผิด และรูปแบบโครงสร้างในการเขียนวิจัยว่าถูกต้องหรือไม่ ซึ่งในการทบทวนเนื้อหาของงานวิจัยนั้น เป็นการทบทวนในสิ่งที่คุณทำการศึกษาวิจัยนั้นตรงตามเนื้อหาของหัวข้อสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่ อยู่ในขอบเขตและกรอบความคิดที่ตั้งไว้หรือไม่

การทบทวนทำความเข้าใจเนื้อหาไม่เพียงจะช่วยทำให้คุณเข้าใจถึงประเด็นปัญหาได้มากขึ้น ยังทำให้คุณมีความพร้อมในการนำเสนอผลงาน สามารถตอบคำถามในงานวิจัยได้อย่างราบรื่น ไม่ทำให้คุณรู้สึกประมาทในการนำเสนอผลงานต่อหน้าคณะกรรมการ

และถึงแม้หัวข้อในการทำทีสิสเป็นหัวข้อที่คุณถนัดก็ตาม แต่ยิ่งคุณทบทวนทำเข้าใจหลายๆ ครั้ง คุณอาจจะพบเจอประเด็นปัญหาใหม่ๆ ในการศึกษางานวิจัยมากกว่าที่คุณมองเห็นแค่ประเด็นหลักๆ สามารถนำประเด็นที่พบนั้นมาต่อยอด และปรับแต่งงานวิจัยของคุณให้สมบูรณ์แบบได้มากขึ้นอีกด้วย

“เลือกอาจารย์ที่ปรึกษาที่ใช่ เชี่ยวชาญกับประเด็นที่เราศึกษา”

ปราการสำคัญในการทำทีสิส คือ อาจารย์ที่ปรึกษา เชื่อว่าหลายๆ คนคงจะมีอาจารย์ที่ตนเองสนิทคุ้นเคยหรืออาจารย์ที่ตนชื่นชอบ ต้องการเชิญมาเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาในงานวิจัยของตนเอง มันคงจะดีหากได้ร่วมงานกับอาจารย์ที่ตนเองชื่นชอบและคุ้นเคย และคงจะไม่ใช่เรื่องยากถ้าหากอาจารย์ท่านนั้นๆ มีความเชี่ยวชาญในงานวิจัยที่คุณต้องการศึกษา ไม่ใช่แค่บุคคลที่คุณชื่นชอบหรือพึงพอใจ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย

ซึ่งคุณต้องไม่ลืมความสำคัญของอาจารย์ที่ปรึกษานะว่า อาจารย์ที่ปรึกษาในงานวิจัย จะต้องเป็นผู้ที่ความเชี่ยวชาญเข้าใจถึงประเด็นปัญหาในงานวิจัยที่คุณทำ ช่วยชี้แนะแนวทางในงานวิจัย ทำให้งานวิจัยของคุณออกมาสมบูรณ์แบบและประสบผลสำเร็จ 

ถ้าคุณไม่อยากก้าวพลาดจำไว้ว่า

“อาจารย์ที่ปรึกษาต้องเป็นคนที่ใช่ ไม่ใช่แค่คนที่ชอบ!”

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

error: Content is protected !!